PDPA ทางการแพทย์


1.การบรรยายครั้งที่ 1 (24 ธ.ค. 2563 )
ความสำคัญ data privacy และ PDPA
โดย ดร.ปริญญา หอมเอนก
https://fb.watch/3JJEIO2VQR/


2.การบรรยาย ครั้งที่ 2 (เช้า 21 ม.ค.2564)
จาก นักกฎหมายถึงแพทย์ ZX
โดย นางอรดี พันธุมโกมล ว่องสาโรจน์ Senior Associate, บริษัท ติลิกีแอนด์กิบบินส์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และดร.พีรพัฒ โชคสุวัฒนสกุล ผู้ช่วยคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://fb.watch/3JJQVBzkdF/


2. การบรรยาย PDPA ช่วงที่ 2 (บ่าย 21 ม.ค.2564)
คือ หมอ สู่ หมอ ครับ
โดย นายแพทย์นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ รองคณบดีฝ่ายปฏิบัติการคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี และนายแพทย์ธนกฤต จินตวร รองผู้อำนวยการสถาบันการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ภาครัฐ
https://fb.watch/3JJUP2PMKR/


3. การบรรยาย PDPA ครั้งที่ 3 25 ก.พ.64
ถ่ายทอดประสบการณ์การทำ PDPA จาก คณะแพทยศาสตร์ศิริราช โดย อจ.ณัฐวุฒิ อดุลยานุโกศล รอง ผอ.ศูนย์สารสนเทศ และนวตกรรมข้อมูล สำนักงานคณบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล
และ รพ.กรุงเทพโดย รศ.นพ.ประดิษฐ์ สมประกิจ ผอ.อาวุโส ฝ่ายสารสนเทศ รพ.กรุงเทพ
https://www.facebook.com/thaimedcouncil/videos/148007397149843/
เอกสารประกอบการบรรยาย
https://drive.google.com/drive/folders/1xxg_D3xUWbgba3pvwdJp4i4_Aw-98MRO?usp=sharing


4. การบรรยาย PDPA ครั้งที่ 4 25 มี.ค.64
เรื่อง "กฎหมายคุ้มครองส่วนบุคคลในมุมมองของศาล" วันพฤหัสบดี 25 มีนาคม 2564 เวลา 9-12.00 น.
วิทยากร "ดร.วรวงศ์ อัจฉราวงศ์ชัย" ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ประจำสำนักประธานศาลฎีกา และ ผู้อำนวยการบริหารสถาบันอนุญาโตตุลาการ
https://www.facebook.com/thaimedcouncil/videos/473142353732583/


ปล.เอกสาร อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
Thai Data Protection Guideline (version 3)
เอกสาร pdf file จำนวน 668 หน้า /ตีพิมพ์ ธันวาคม 2563
จัดทำโดย ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับภาคเอกชน ปก.ด้วยบริษัทกฎหมายและผู้ประกอบการ
https://www.law.chula.ac.th/wp-content/uploads/2020/12/TDPG3.0-C5-20201208.pdf


5. การบรรยาย "ชวนหมอรู้" ครั้งที่ 2/2565 เรื่อง "PDPA (Personal Data Protection Act) ทางการแพทย์ ครั้งที่ 5" วันที่ 31 พ.ค.2565 เวลา 13.00 - 16.00 น.

  • เรื่อง "Do & Don’t เรื่อง PDPA สำหรับแพทย์" โดยดร.นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
    เอกสารประกอบการบรรยาย
  • เรื่อง "Do & Don’t เรื่อง PDPA สำหรับแพทย์ ในประเด็นการทำวิจัย" โดย ผศ.ดร.นพ.ชูศักดิ์ โอกาศเจริญ รองประธานฝ่ายวิชาการ ชมรมจริยธรรมวิจัยในคนในประเทศไทย


https://www.facebook.com/thaimedcouncil/videos/670585634109828/


6. ประชุมวิชาการ "ชวนหมอรู้" ครั้งที่ 6 ตอน "Awareness ด้าน Cyber แพทย์จะรับมือได้อย่างไร"

  • ประชุมวิชาการ “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 6 ตอน “Awareness ด้าน Cyber แพทย์จะรับมือได้อย่างไร” ช่วงที่ 01
    https://youtu.be/5oB89gxdbsI
  • ประชุมวิชาการ “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 6 ตอน “Awareness ด้าน Cyber แพทย์จะรับมือได้อย่างไร” ช่วงที่ 02
    https://youtu.be/hpKZUzUw-0c
  • ประชุมวิชาการ “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 6 ตอน “Awareness ด้าน Cyber แพทย์จะรับมือได้อย่างไร” ช่วงที่ 03
    https://youtu.be/-rAT1sCYWUI
  • ประชุมวิชาการ “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 6 ตอน “Awareness ด้าน Cyber แพทย์จะรับมือได้อย่างไร” ช่วงที่ 04
    https://youtu.be/-jEE_6lBTRU

7. เรื่อง ประชุมวิชาการทางกฎหมาย "ชวนหมอรู้" ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์

  • ประชุมวิชาการทางกฎหมาย “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์
    https://youtu.be/41X6fnOWwtg
  • ประชุมวิชาการทางกฎหมาย “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์ พล.อ.ท.นพ.อิทธพร คณะเจริญ
    https://youtu.be/JN3NDeZkgFQ
  • ประชุมวิชาการทางกฎหมาย “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์ รศ.นพ.เมธี วงศ์ศิริสุวรรณ
    https://youtu.be/NWuWA8ByVDQ
  • ประชุมวิชาการทางกฎหมาย“ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์ รศ.นพ.วิสูตร ฟองศิริไพบูลย์
    https://youtu.be/DttAvgvRrFo
  • ประชุมวิชาการทางกฎหมาย “ชวนหมอรู้” ครั้งที่ 7 กฎหมายใหม่น่ารู้สำหรับแพทย์ ผศ.นพ.ต่อพล วัฒนา
    https://youtu.be/gFzP0Kmxo-w


ใบรับรองแพทย์ (ตรวจสุขภาพ)


ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง  


FOLLOW US

Copyright © สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์โดยแพทยสภา ห้ามทำการลอกเลียน ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดนอกจากจะได้รับอนุญาต