กลับสู่เว็บไซต์แพทยสภา

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์ โดย แพทยสภา

ที่มา: แพทยสภา


คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์

ที่มา: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2/2562

ดูรายละเอียด


ข้อมูลจากราชวิทยาลัยทางการแพทย์

ลำดับ ประกาศ/ข้อมูล
1 ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย โดยศาสตราจารย์นายแพทย์สมชาย เอี่ยมอ่อง ประธานราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
2 ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย โดยศาสตราจารย์นายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา ประธานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
3 ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย โดยพันเอกนายแพทย์พงศธร เนตราคม เลขาธิการราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
4 ราชวิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย โดยแพทย์หญิง พลอยไพลิน รัตนสัญญา แพทย์ชำนาญการพิเศษ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน พิษและเภสัชวิทยา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
5 ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการบริหารราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ
6 ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย โดยรองศาสตราจารย์นายแพทย์อนุชิต ปุญญทลังค์ ประธานราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นเกี่ยวกับการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
7 ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย โดยนายแพทย์อภินันท์ อร่ามรัตน์ ประธานราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวแห่งประเทศไทย ให้ความเห็นต่อกรณีการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
8 ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย โดยรองศาสตราจารย์แพทย์หญิงวิไล คุปต์นิรัติศัยกุล ประธานราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย และนายกสมาคมเวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย
9 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย โดยพลอากาศโทนายแพทย์การุณ เก่งสกุล ประธานราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ให้ความเห็นต่อกรณีการใช้กัญชาทางการแพทย์ ดังนี้
10 ราชวิทยาลัยประสาทศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย โดยนายแพทย์ยอดรัก ประเสริฐ ประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
11 ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย โดยนายแพทย์วิทูร ชินสว่างวัฒนกุล เลขาธิการราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย
12 ราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย โดยรองศาตราจารย์นายแพทย์ธีรพร รัตนาอเนกชัย เลขาธิการราชวิทยาลัยโสต ศอ นาสิกแพทย์แห่งประเทศไทย

กฎหมายเกี่ยวกับกัญชา

ที่มา: FDA-สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และราชกิจจานุเบกษา

ลำดับ กฎหมาย ดาวน์โหลด
1 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
2 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562
3 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สำหรับผู้ป่วยที่มีความจำเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 ใช้บังคับให้ต้องไม่รับโทษ พ.ศ.2562
4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การกำหนดให้ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ทำลายกัญชาที่ได้รับมอบจากบุคคล ซึ่งไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562
5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแจ้งการมีไว้ในครอบครองกัญชาสำหรับผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 26/5และบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ป่วยตาม มาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562 ใช้บังคับให้ต้องไม่รับโทษ พ.ศ.2562
6 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือศึกษาวิจัยได้ พ.ศ.2562
7 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพื้นบ้านตามกฎหมายวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถปรุง หรือสั่งจ่ายตำรับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ พ.ศ.2562
8 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กำหนดตำรับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ที่ให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ พ.ศ.2562
9 ฐานข้อมูลกฎหมายอิเล็กทรอนิกส์ ของกองวัตถุยาเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา